วัตถุประสงค์ของการทดสอบน้ำหนักลิฟต์
การทดสอบน้ำหนักของลิฟต์ เป็นขั้นตอนสำคัญในการตรวจสอบความปลอดภัย ความมั่นคง และประสิทธิภาพการทำงานของลิฟต์ให้เป็นไปตามมาตรฐาน โดยทั่วไปจะดำเนินการทั้งก่อนเปิดใช้งาน (การตรวจรับ) และระหว่างการตรวจสอบประจำปี
การทดสอบน้ำหนักของลิฟต์ เป็นขั้นตอนสำคัญในการตรวจสอบความปลอดภัย ความมั่นคง และประสิทธิภาพการทำงานของลิฟต์ให้เป็นไปตามมาตรฐาน โดยทั่วไปจะดำเนินการทั้งก่อนเปิดใช้งาน (การตรวจรับ) และระหว่างการตรวจสอบประจำปี
ทีมงานตรวจรับรองความลอดภัยรถแบคโฮ ตรวจสอบความเรียบร้อยของชิ้นส่วนหรือกลไกการทำงานของเครื่องจักร เครื่องจักรกลหนักที่ใช้งานในงานก่อสร้าง งานขุด งานถนน พร้อมออกหนังสือรับรองประจำปี ตรวจรับรองโดยวิศวกรที่ได้รับใบอนุญาตถูกต้องตามกฏหมาย
เครื่องจักรหรืออุปกรณ์ยกที่ใช้สำหรับ ยกบุคคลขึ้นไปทำงานในที่สูง อย่างปลอดภัย โดยออกแบบให้มีโครงสร้างมั่นคง ใช้งานง่าย และสามารถเข้าถึงจุดที่บันไดหรือนั่งร้านเข้าไม่ถึง เหมาะกับงานซ่อมบำรุง ติดตั้งระบบต่าง ๆ หรือทำงานในอาคาร/โรงงาน/ไซต์ก่อสร้าง
ทีมวิศวกรได้ทำการเข้าตรวจสอบพร้อมทดสอบลิฟท์ยกรถ ตรวจเช็คระบบการใช้งานต่างๆ ตรวจเช็คระบบความปลอดภัยในการใช้งานและให้คำแนะนำต่างๆ พร้อมออกเอกสารรับรองตามกฎหมายกำหนด โดยวิศวกรเครื่องกลที่ได้ขึ้นทะเบียนและนิติบุคคลที่ได้รับใบอนุญาตตามกฎหมาย
ความปลอดภัยและการตรวจสอบลิฟต์โดยสารเป็นสิ่งที่จำเป็นอย่างยิ่ง เพื่อป้องกันอุบัติเหตุที่อาจเกิดขึ้นต่อชีวิตและทรัพย์สิน โดยเฉพาะในอาคารที่มีการใช้งานลิฟต์อย่างต่อเนื่อง เช่น คอนโดมิเนียม โรงแรม โรงพยาบาล หรือสำนักงาน
ทีมตรวจวิศวกรได้ทำการเข้าตรวจสอบพร้อมทดสอบลิฟท์ขนส่ง ตรวจเช็คระบบการใช้งานต่างๆ ตรวจเช็คระบบความปลอดภัยและเทสทดสอบพิกัดการใช้งานและให้คำแนะนำ พร้อมออกเอกสารรับรองตามกฎหมายกำหนด โดยวิศวกรเครื่องกลที่ได้ขึ้นทะเบียนและนิติบุคคลที่ได้รับใบอนุญาตตามกฎหมาย
กฎกระทรวงความปลอดภัยในการทำงานเกี่ยวกับรถยก (Forklift) เป็นกฎหมายที่ออกโดยกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม เพื่อกำหนดมาตรการและข้อปฏิบัติที่เกี่ยวข้องกับความปลอดภัยในการทำงานกับรถยก ป้องกันอุบัติเหตุและลดความเสี่ยงในการทำงาน ดังนั้น ผู้ที่ทำงานกับรถยกหรือผู้ที่เกี่ยวข้องควรปฏิบัติตามกฎกระทรวงอย่างเคร่งครัด
ตรวจรับรองความปลอดภัยรถโฟล์คลิฟท์ ตรวจสอบความเรียบร้อยของชิ้นส่วนหรือกลไกการทำงานของเครื่องจักร ทดสอบ ทดลอง และรับรองการใช้งานชิ้นส่วนอุปกรณ์หรือกลไกการทำงานของอุปกรณ์เพื่อความถูกต้องและปลอดภัย โดยวิศวกร ซึ่งขึ้นทะเบียนตามมาตรา ๙ และนิติบุคคลซึ่งได้รับใบอนุญาตตามมาตรา ๑๑ ถูกต้องตามกฎหมาย
จิ๊บเครน (Jib Crane) เป็นอุปกรณ์ยกของที่ใช้กันอย่างแพร่หลายในโรงงานอุตสาหกรรม โดยเฉพาะอย่างยิ่งในพื้นที่ที่ต้องการยกสิ่งของซ้ำ ๆ ในบริเวณจำกัด เช่น จุดประกอบชิ้นส่วน จุดบรรจุสินค้า หรือสายการผลิตบางจุด
รถกระเช้าบูมลิฟท์ (Boom Lift) เป็นอุปกรณ์ยกที่ใช้สำหรับยกคนหรือของขึ้นไปในที่สูงเพื่อทำงานในพื้นที่ที่เข้าถึงยาก โดยมีจุดเด่นคือการเข้าถึงพื้นที่ที่ต้องการอย่างคล่องตัว และสามารถทำงานในที่ที่ยากต่อการเข้าถึงด้วยอุปกรณ์ยกประเภทอื่น ๆ เช่น งานในพื้นที่แคบ งานซ่อมแซม งานติดตั้งไฟฟ้า และงานตรวจสอบอาคารในที่สูง